Print
Category: การเลี้ยงสัตว์
Hits: 2810

การใช้งานคู่มือการจัดการเลี้ยงดู

                ไก่ไข่สายพันธุ์ Hy-Line Brown จะสามารถแสดงศักยภาพตามพันธุกรรมประจำสายพันธุ์ที่มีอยู่ในตัวออกมาได้ ก็ต่อเมื่อฝูงไก่ได้รับการจัดการที่ถูกต้องและเหมาะสมรวมถึงการดูแลที่ดีเยี่ยม ซึ่งคู่มือการจัดการเลี้ยงดูฉบับนี้ได้ทำการรวบรวมข้อมูลการจัดการเชิงปฏิบัติที่ประสบผลสำเร็จมาจากฐานข้อมูลของ Hy-Line International ที่มีอยู่ทั่วทุกมุมโลก โดยแนวทางหรือข้อแนะนำสำหรับใช้ในการจัดการเลี้ยงดูฝูงไก่ตามที่แสดงในคู่มือ Hy-Line International Management Guides ได้นำหลักการในการจัดการเลี้ยงดูฝูงไก่มาจากคู่มือ Hy-Line Red Book และ Online Management Guide ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก www.hylineredbook.com

                ข้อมูลที่แสดงอยู่ในคู่มือ Hy-Line International Management Guides จะถูกทำการปรับปรุงพัฒนาอยู่อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกค้าและผู้สนใจ สามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูล และได้รับข้อมูลที่มีความสดใหม่อยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลด้านประสิทธิภาพการผลิต และ/หรือข้อมูลในด้านโภชนะ ซึ่งการใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าว ควรนำไปใช้สำหรับเป็นแนวทางหรือนำไปใช้เพื่อการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเท่านั้น เนื่องจากผู้ใช้งานต้องตระหนักอยู่เสมอว่า สภาพแวดล้อมหรือสภาวะการเกิดและการแพร่ระบาดโรคในแต่ละพื้นที่การเลี้ยงอาจมีความแตกต่างกันหรือแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ซึ่งคำแนะนำและเทคนิคต่างๆที่ระบุไว้ในคู่มือไม่มีทางสามารถที่จะแนะนำได้ทุกประเด็น หรือครอบคลุมเต็มร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่อย่างไรก็ดีทางบริษัท Hy-Line ก็มีความมุ่งมั่ง ตั้งใจ และพยายามที่จะทำให้ข้อมูลนำเสนอหรือที่ตีพิมพ์เผยแพร่ออกไปในขณะนั้นเป็นข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ 

ทาง Hy-Line International ต้องขอปฏิเสธความรับผิดชอบใดๆต่อความผิดพลาดหรือความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการนำข้อมูล, คำแนะนำ หรือวิธีการจัดการใดๆที่ปรากฏอยู่ในคู่มือดังกล่าวไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสมหรือในทางที่ผิด นอกจากนี้ทาง Hy-Line International ยังไม่สามารถรับประกัน หรือให้การรับรองใดๆกับข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ ความสมบูรณ์, ความถูกต้อง, ความน่าเชื่อถือ, ประสิทธิภาพของฝูง หรือประสิทธิภาพการผลิต ฯลฯ ที่นำเสนอในคู่มือการจัดการนี้

สารบัญ

 

ประสิทธิภาพการผลิตตามมาตรฐานของไก่ไข่ Hy-Line Brown

2

 

ขนาดของแหล่งแคลเซียมในอาหาร

20

การส่งมอบลูกไก่ไปยังฟาร์มไก่ไข่

3

 

ขนาดของเม็ดอาหาร

21

การกกลูกไก่ในกรง

3

 

วิตามินและแร่ธาตุ

22

ข้อแนะนำในการกกลูกไก่

5

 

ประเภทของอาหารตามความต้องการทางโภชนะของไก่

23

การจัดการแสงสว่างในช่วงกก

6

 

ปริมาณความต้องการโภชนะของไก่ในระยะเจริญเติบโต

24

การจัดการระบบน้ำดื่ม

7

 

การเปลี่ยนแปลงสูตรอาหาร ระยะเจริญเติบโต-ระยะให้ผลผลิต

25

การตัดจะงอยปาก

8

 

ปริมาณความต้องการโภชนะของไก่ในระยะให้ผลผลิต

26

การเจริญเติบโตและการพัฒนาของไก่ไข่

10

 

ปริมาณของโภชนะในอาหารไก่ระยะให้ผลผลิต

27

การเพิ่มน้ำหนักตัว, การบริโภคอาหาร และการกระจายตัวของน้ำหนัก

11

 

ข้อแนะนำเกี่ยวกับการจัดการในเรื่องการบังคับพลัดขน

28

การจัดการพื้นที่ในการเลี้ยง

12

 

คุณค่าทางโภชนะในอาหารสำหรับระยะผลัดขน

30

ระบบการจัดการการเลี้ยงในกรง

12

 

ปริมาณความต้องการโภชนะของไก่ในระยะหลังผลัดขน

31

ขั้นตอนการจัดการไก่ไข่ HY-LINE BROWN ในแต่ละช่วงอายุ

13

 

การควบคุมโรค

32

การจัดการด้านแสงสว่างแสงที่ดี

15

 

ข้อแนะนำเกี่ยวกับการทำวัคซีน

35

โปรแกรมการให้แสงสว่าง สำหรับควบคุมแสงสว่างภายในโรงเรือนปิด

15

 

ประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐาน

38

โปรแกรมการให้แสงสว่าง สำหรับควบคุมแสงสว่างภายในโรงเรือนเปิด

16

 

กราฟแสดงประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐาน

40

การพิจารณาเรื่องแสงสว่าง

17

 

ประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานหลังการผลัดขน

41

การใช้ม่าน หรือวัสดุบังแสงในส่วนเปิดของโรงเรือน

17

 

กราฟแสดงประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานหลังการผลัดขน

42

การให้อาหารตอนเที่ยงคืน (Midnight Feeding)/โปรแกรมแสงสว่าง

17

 

มาตรฐานด้านคุณภาพและขนาดของไข่

43

การจัดการคุณภาพน้ำ

18

 

กราฟแสดงการแบ่งขนาดของไข่ตามมาตรฐาน

45

การบริโภคน้ำ

19

 

ตารางแสดงวัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหารสัตว์

46

คุณภาพอากาศ

20

     

ประสิทธิภาพการผลิตตามมาตรฐานของไก่ไข่ Hy-Line Brown Commercial

 

 

 

ระยะเจริญเติบโต (17 สัปดาห์)

 

 

อัตราการเลี้ยงรอด (เพศเมีย)                   

 

98%

ปริมาณการบริโภคอาหาร

 

5.75–6.13 กก.

น้ำหนักตัว

(ที่ 17 สัปดาห์)

1.40–1.48 กก.

ระยะให้ผลผลิตไข่ (110 สัปดาห์)

 

 

ผลผลิตไข่สูงสุด

 

95-96%

จำนวนไข่ (Hen Day)

(60 สัปดาห์)

257-266

 

(90 สัปดาห์)

419-432

จำนวนไข่ (Hen House)

(60 สัปดาห์)

253-262

 

(90 สัปดาห์)

408-421

 

(110 สัปดาห์)

491-508

อัตราการเลี้ยงรอด                

(60 สัปดาห์)

97%

 

(90 สัปดาห์)

93%

อายุเมื่อให้ผลผลิตที่ 50%

 

140 วัน

น้ำหนักไข่

(26 สัปดาห์)

57.3–59.7 กรัม/ฟอง

 

(32 สัปดาห์)

60.1–62.5 กรัม/ฟอง

 

(70 สัปดาห์)

62.9–65.5 กรัม/ฟอง

น้ำหนักไข่ทั้งหมด/แม่ไก่ 1 ตัว

(18-90 สัปดาห์)

25.5 กก.

น้ำหนักตัว

(32 สัปดาห์)

1.85–1.97 กก.

 

(70 สัปดาห์)

1.91–2.03 กก.

ค่าการปราศจากการเป็นไข่แฝด

 

ดีเยี่ยม

ค่าความแข็งของเปลือกไข่

 

ดีเยี่ยม

สีของเปลือกไข่

(38 สัปดาห์)

87

 

(56 สัปดาห์)

85

 

(70 สัปดาห์)

81

Haugh Unit

(38 สัปดาห์)

90

 

(56 สัปดาห์)

84

 

(70 สัปดาห์)

81.1

ปริมาณการบริโภคอาหารสะสมเฉลี่ย : ตัว                           

  (18-19 สัปดาห์)

105-112 กรัม

อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นผลผลิตไข่ (กก.อาหาร/กก.ไข่)

  (20-60 สัปดาห์)

1.87–1.99 กก.

 

  (20-90 สัปดาห์)

1.95–2.07 กก.

อัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นผลผลิตไข่ 1 กก. (กก.ไข่/กก.อาหาร)

  (20-60 สัปดาห์)

0.50–0.54 กก.

 

  (20-90 สัปดาห์)

0.48–0.51 กก.

การบริโภคอาหารสะสม : การผลิตไข่ 12 ฟอง

  (20-60 สัปดาห์)

1.42–1.46 กก.

 

  (20-90 สัปดาห์)

1.51–1.55 กก.

สีของผิวหนัง

 

เหลือง

ลักษณะการขับถ่ายมูล

 

แห้ง

 

 

 

* ข้อมูลที่แสดงในตารางเป็นข้อมูลที่รวบรวมมาจากประสิทธิภาพการผลิตของลูกค้า Hy-Line จากทั่วทุกมุมโลก หากคุณเป็นหนึ่งในลูกค้าของ Hy-Line กรุณาส่งข้อมูลประสิทธิภาพการผลิตของคุณมาที่ This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.  ในส่วนของฐานข้อมูล Hy-Line International EggCel คุณสามารถสืบค้นเพิ่มเติมได้ทาง www.hylineeggcel.com

 

การส่งมอบลูกไก่ไปยังฟาร์มไก่ไข่

ขั้นตอนการขนส่ง

ขั้นตอนการจัดการลูกไก่หลังการขนส่ง

การกกลูกไก่ในกรง

 

 

 

 

                    

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อแนะนำในการกกลูกไก่

 

 

 

 

 

 

 

ผลกระทบของค่าความชื้นสัมพัทธ์ในโรงเรือน

 

 

ความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ

ความชื้นสัมพัทธ์สูง

    ส่งผลให้ฝูงไก่รู้สึกอึดอัด

    ส่งผลให้วัสดุรองพื้นเปียกชื้น

    เพิ่มการสูญเสียน้ำของร่างกาย

    เพิ่มปฏิกิริยาการเกิดแอมโมเนีย

    ส่งผลให้เกิดเหตุการณ์มูลแข็งติดก้น โดยเฉพาะในลูกไก่

    คุณภาพของอากาศภายในโรงเรือนไม่ดี

    ส่งผลให้ฝูงไก่เกิดความกระวนกระวาย และส่งผลให้เกิด      

    ปรากฏการณ์การจิกกันขึ้นภายในฝูง

 

    ส่งผลเสียต่อขนของลูกไก่

 

    เพิ่มการเกิดและการสะสมของฝุ่นละอองภายในโรงเรือน

 

 

 

 

การจัดการแสงสว่างในช่วงกก

โปรแกรมการให้แสงสว่างแบบไม่ต่อเนื่อง      

 
 

· เป็นอีกหนึ่งทางเลือกของเทคนิคการให้แสง

· เหมาะสมสำหรับใช้ในช่วงอายุ 0-7 วันแรก

· มีการเว้นระยะเวลาเพื่อให้ไก่ได้พักผ่อน

· กระตุ้นให้ฝูงไก่มีการตื่นตัวและเพิ่มประสิทธิภาพการกินได้ของลูกไก่

· เพิ่มอัตราการเลี้ยงรอดที่ 7 วัน

· เพิ่มความสามารถในการตอบสนองต่อการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย จากการได้รับวัคซีน

· สามารถปรับเปลี่ยนช่วงเวลาของการปิดไฟบางช่วงให้สั้นลง หรือสามารถนำออกไปจากตารางเวลา เพื่อปรับเวลาการให้แสงสว่างตรงกับตารางเวลาการทำงานของพนักงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การจัดการระบบน้ำดื่ม

 

       
 

· ในช่วง 0-3 วันแรก ผู้เลี้ยงควรทำการกดน้ำให้เต็มถ้วยอยู่ตลอดเวลาเพื่อฝึกให้ลูกไก่รู้จักกินน้ำจากถ้วย

 

 
 

· ในช่วง 0-3 วันแรกควรทำการปรับระดับแรงดันน้ำในท่อขึ้นให้มีหยดน้ำติดอยู่ตรงปลายจุ๊บตลอดเวลา

· ถ้วยน้ำข้างใต้จุ๊บน้ำ มีประโยชน์ในช่วงของการกกลูกไก่ และในเวลาที่มีอากาศร้อน

· จุ๊บน้ำแบบเข้าถึงได้รอบทิศทาง (360°) ช่วยให้ลูกไก่สามารถกินน้ำได้อย่างสะดวก

· จุ๊บน้ำแบบเข้าถึงได้รอบทิศทาง (360°) มีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการกินน้ำได้ของลูกไก่ที่ผ่านการตัดปากมาจากโรงฟัก

·  

 

 
 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การตัดจะงอยปาก

 

การตัดจะงอยปากด้วยแสงอินฟราเรด

 

การตัดจะงอยปากด้วยเครื่องตัดจะงอยปากไฟฟ้า

- ในกรณีที่จี้ปากไก่กับใบมีดด้วยเวลาน้อยกว่า 2 วินาที หรือใบมีมีอุณหภูมิสูงไม่ถึงกำหนด จะส่งผลให้จะงอยปากที่งอกออกมาใหม่มีความไม่สม่ำเสมอ

- ในกรณีที่จี้ปากไก่กับใบมีดด้วยเวลาที่มากกว่า 2 วินาที หรือใบมีมีอุณหภูมิสูงเกินกว่ากำหนด จะส่งผลให้เส้นประสาทบริเวณจะงอยปากตาย และจะงอยปากไก่อาจผิดรูป

 

 

ข้อควรระวังในการตัดจะงอยปาก

 

 

 

การเจริญเติบโตและการพัฒนาของไก่ไข่

 

 

 

ความสำคัญของการพัฒนากล้ามเนื้อหน้าอก

 

 

การเพิ่มน้ำหนักตัว, การบริโภคอาหาร และการกระจายตัวของน้ำหนักภายในฝูง

    อายุ (สัปดาห์)

    น้ำหนักตัว

    (กรัม)

    การบริโภคอาหาร

        (กรัม/ตัว/วัน)

UNIFORMITY

 

1

68 – 72

14 –

15

 

>85%

2

121 – 129

17 –

21

3

184 – 196

23 –

25

4

257 – 273

27 –

29

 

>65%

5

349 – 371

34 –

36

6

446 – 474

38 –

40

7

543 – 577

41 –

43

 

 

>75%

8

650 – 690

45 –

47

9

757 – 803

49 –

53

10

863 – 917

52 –

56

11

960 – 1020

58 –

62

12

1048 – 1112

62 –

66

13

1125 – 1195

67 –

71

 

 

  >85%

14

1193 – 1267

70 –

74

15

1261 – 1339

72 –

76

16

1329 – 1411

75 –

79

17

1397 – 1483

78 –

82

>90%

 

 

 

 

 

การจัดการพื้นที่ในการเลี้ยง

*ความต้องการด้านพื้นที่ของไก่อาจแตกต่างกันไป โดยขึ้นอยู่กับสภาพของสิ่งแวดล้อม        

 

 

· ไก่จะถูกย้ายขึ้นกรง เพื่อไข่เมื่อมีอายุได้ 15-16 สัปดาห์หรือหลังจากผ่านการทำวัคซีนเชื้อเป็นแล้ว

· ทำการเดินระบบน้ำและอาหารให้พร้อมก่อนทำการย้ายไก่ขึ้นกรง

· ทำการสังเกตและคัดทิ้งไก่กระเทยภายที่พบเจอในฝูงออกในช่วงอายุระหว่าง 7 สัปดาห์เรื่อยมาถึงวันที่ทำการย้ายไก่ขึ้นกรง

· ละลายวิตามินและอิเล็คโทรไลท์ ให้ไก่ดื่มอย่างน้อย 3 วันก่อนการย้ายไก่และให้ต่ออีกอย่างน้อย 3 วันหลังการย้ายไก่

· ทำการสุ่มชั่งน้ำหนักไก่ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงสูตรอาหาร

· ทำการตรวจสอบไก่ตายเป็นประจำทุกวัน และทำการนำซากไก่ที่ตายไปกำจัดทุกวัน

· หากพบว่าอัตราการตายภายในฝูงต่อสัปดาห์มีมากกว่า 0.1% ให้ทำการ  ผ่าชันสูตรซากไก่ดังกล่าว เพื่อหาสาเหตุของการตายที่เกิดขึ้น

 

ระบบการจัดการการเลี้ยงในกรง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                       

 

วิธีการสัมผัสไก่ที่นุ่มนวล

·  ในการชั่งน้ำหนัก, เก็บตัวอย่างเลือด, คัดแยกกลุ่ม, ทำวัคซีน และเคลื่อนย้ายไก่ ควนกระทำด้วยความนุ่มนวลระมัดระวัง เพื่อป้องกันไก่ได้รับบาดเจ็บ

·  จับไก่ที่ขาหรือปีกทั้ง 2 ข้าง

·  ปล่อยไก่กลับสู่กรงด้วยความระมัดระวัง

·  ผู้ปฏิบัติงานจำเป็นต้องมีประสบการณ์ และได้รับการฝึกอบรมการจับสัตว์ปีกมาเป็นอย่างดี

 

ขั้นตอนการจัดการไก่ไข่ HY-LINE BROWN ในแต่ละช่วงอายุ

 

                                                            

 

ขั้นตอนการจัดการไก่ไข่ HY-LINE BROWN ในแต่ละช่วงอายุ

 

 การชั่งน้ำหนักในแต่ละช่วงอายุ

·    ทำการแบ่งกลุ่มของไก่ตามน้ำหนักร่างกาย เพื่อนำไปใส่ไว้กรงที่ตำแหน่งต่างๆ ตามระดับของอุณหภูมิรวมถึงสิ่งแวดล้อม ณ ตำแหน่งที่ตั้งของกรง

·    ระบุตำแหน่งของกรงที่จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของสายพานลำเลียงอาหาร

·    ทำการระบุตำแหน่งที่ตั้งของกรงสำหรับใช้ในการตรวจสอบน้ำหนักของไก่ และทำการชั่งไก่ที่ตำแหน่งเดิมทุกครั้ง

0-3 สัปดาห์

·    ชั่งน้ำหนักลูกไก่ 10 กล่องๆละ 10 ตัว

4-29 สัปดาห์

·    ชั่งน้ำหนังไก่ 100 ตัวเป็นประจำทุกสัปดาห์

·    ชั่งน้ำหนักไก่ ณ ตำแหน่งที่ตั้งกรงเดิมทุกครั้ง เพื่อความ

แม่นยำของข้อมูล

·    ทำการคำนวณเปอร์เซ็นต์ Uniformity

30-50 สัปดาห์

·    ชั่งน้ำหนังไก่ 100 ตัวเป็นประจำทุก 5 สัปดาห์

·    ชั่งน้ำหนักไก่ ณ ตำแหน่งที่ตั้งกรงเดิมทุกครั้ง เพื่อความ

แม่นยำของข้อมูล

·    ทำการคำนวณเปอร์เซ็นต์ Uniformity

 การเก็บตัวอย่างเลือดในแต่ช่วงอายุ

ทำการเก็บตัวอย่างซีรั่ม 10-20 ตัวอย่างต่อฝูงสำหรับตรวจ

วัด Titer

         8 สัปดาห์

·    เพื่อประเมินผลและเทคนิคการฉีดวัคซีนในครั้งที่ผ่านมา

15 สัปดาห์

·    เก็บตัวอย่างเลือดก่อนทำการย้ายไก่ขึ้นกรงเพื่อใช้ในการ

ประเมินความเปลี่ยนแปลง โดยทั่วไปตัวอย่างเลือดจะไม่

ถูกส่งไปวิเคราะห์ยังห้องปฏิบัติการ แต่จะถูกแช่แข็งเก็บ

ไว้ภายในฟาร์มสำหรับส่งไปทำการวิเคราะห์หากเกิด

การระบาดของโรคภายในฟาร์มในอนาคต

 

 การควบคุมน้ำหนักไข่ในแต่ละช่วงอายุ

             ทำการสุ่มเก็บตัวอย่างไข่ จากสายพานลำเลียงไข่หน้ากรง จำนวน 100 ฟอง (อาจเป็นไข่จากแม่ไก่กรงที่ทำการชั่งน้ำหนัก) เพื่อให้แน่ใจว่ามีการกระจายตัวของตัวอย่างไข่ที่สม่ำเสมอ ในการสุ่มเก็บตัวอย่างไข่เพื่อนำมาชั่งน้ำหนัก ควรทำการกำหนดให้เป็นวันใดวันหนึ่งของสัปดาห์ (ให้เป็นวันเดียวกัน) และเวลาในการปฏิบัติงานต้องอยู่ภายในกรบเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง

 

 

 

 
 

มากกว่า 50 สัปดาห์

· ชั่งน้ำหนังไก่ 100 ตัวเป็นประจำทุก 10 สัปดาห์

· ชั่งน้ำหนักไก่ ณ ตำแหน่งที่ตั้งกรงเดิมทุกครั้ง เพื่อความแม่นยำของข้อมูล

· ทำการคำนวณเปอร์เซ็นต์ Uniformity

การประเมินระหว่างการชั่งน้ำหนัก

· ความแข็งแรงและความหนาแน่ของกระดูกหน้าอก

· คะแนนความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหน้าอก

· ไขมันหุ้มร่างกาย

· ปรสิตภายนอก

· อาการที่แสดงออกของโรค

 

 

 

 

16-24 สัปดาห์

· เก็บตัวอย่างเลือดอย่างช้าภายใน 4 สัปดาห์หลังการฉีดวัคซีนเข็มสุดท้าย

· ใช้ในการประเมินการตรวจสอบการกระตุ้นภูมิคุ้มกันจากการได้รับเชื้อโรคหลังการย้ายไก่ขึ้นกรง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                                                               

การจัดการด้านแสงสว่างแสงที่ดี

โปรแกรมการให้แสงสว่าง สำหรับควบคุมแสงสว่างภายในโรงเรือนปิด

(www.hylineweblighting.com)

การค่อยๆลดชั่วโมงการให้แสงสว่างภายในโรงเรือนลงในช่วง 0-8 สัปดาห์ มีจุดประสงค์เพื่อ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โปรแกรมการให้แสงสว่าง สำหรับควบคุมแสงสว่างภายในโรงเรือนเปิด

 

 

เส้นสีดำแสดงให้เห็นถึงเวลาที่พระอาทิตย์ขึ้นและตกตามธรรมชาติ ส่วนแถบสีฟ้าแสดงให้เห็นถึงโปรแกรมการปิดเปิดไปที่ถูกกำหนดขึ้น

 

· กรอก E-mail ของคุณ

· กรอกข้อมูลสายพันธุ์ไก่ที่เลี้ยง, สถานที่, ประเภทของโรงเรือน, วันที่ฟัก

· เลือกภาษาที่จะแสดงผล

· คลิ๊กที่ “Create Lighting Spreadsheet”

· หน้าจอแสดงผลจะปรากฏขึ้น

· คลิ๊กที่ “download Excel” เพื่อดาวน์โหลดข้อมูลโปรแกรมแสงของคุณ

 

(www.hylineweblighting.com)

              

 

การพิจารณาเรื่องแสงสว่าง

(กรงเลี้ยง)

 

การใช้ม่าน หรือวัสดุบังแสงในส่วนเปิดของโรงเรือน

 

การให้อาหารตอนเที่ยงคืน (Midnight Feeding)/โปรแกรมแสงสว่าง

     ของเปลือกไข่

2-5 กรัม/ตัว/วัน

 

      การจัดการที่ดี

การจัดการคุณภาพน้ำ

ว่าแหล่งน้ำดังกล่าวมีการปนเปื้อนของสิ่งปฏิกูลจากสัตว์หรือมนุษย์

 

 

 

 

 

 

 

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงจะส่งผลให้เกิดความเป็นพิษ

 

ค่า ORP

 

จำนวนโคลิฟอร์มแบคที่เรียจากสิ่งปฏิกูล

 

จำนวนโคลิฟอร์มแบคที่เรียทั้งหมด

 

จำนวนแบคที่เรียทั้งหมด

 

ค่า ORP ของ Free Choline ที่ระดับ 2-4 ppm ส่งผลในการฆ่าเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในช่วง pH ระหว่าง 5-7

 

    แสดงให้เห็นว่าน้ำดังกล่าวมีความสกปรก

 

ไก่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพของน้ำที่มี pH ต่ำได้ แต่หากค่า pH ของน้ำมีระดับต่ำกว่า 5 จะส่งผลให้อัตราการกินน้ำลดลง,     อุปกรณ์ที่เป็นโลหะจะเกิดสนิม หากน้ำมีค่า pH ประมาณ 8 จะส่งผลให้อัตราการกินน้ำลดลง, และผลของการฆ่าเชื้อโรคในน้ำลดลง

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงจะส่งผลให้เกิดความเป็นพิษ

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงจะส่งผลให้เกิดความเป็นพิษ

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงอาจส่งผลให้น้ำมีรสชาติที่ขม

 

 หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงอาจส่งผลออกฤทธิ์เป็นยาถ่าย

 

    สามารถยอมรับได้ ในปริมาณที่สูงถึง 50 ppm แต่ต้องพิจารณาควบคู่กับปริมาณของ chloride, sulphate หรือ potassium

 

    สามารถยอมรับได้ ในปริมาณที่สูง แต่ต้องพิจารณาควบคู่กับปริมาณของ Sodium ค่าความกระด้าง และค่า pH

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงอาจส่งผลออกฤทธิ์เป็นยาถ่าย และอาจก่อให้เกิดความเป็นพิษได้ถ้าหากร่วมกับ Sulfate ที่มีระดับสูงกว่า 50 ppm

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงอาจส่งผลต่อกลิ่นและรสชาติ

 

    หากพบปนเปื้อนในปริมาณสูงอาจส่งผลออกฤทธิ์เป็นยาถ่าย

 

 Chloride ที่ระดับต่ำกว่า 40 มก.อาจก่อให้เกิดความเป็นพิษได้ถ้าหากร่วมกับ Sodium ที่มีระดับสูงกว่า 50 ppm

 

 การปนเปื้อนในปริมาณที่สูงถึง 3000 ppm จะไม่ส่งผลใดๆต่อประสิทธิภาพการผลิต แต่อาจส่งผลต่ออุปกรณ์ในด้านคราบตะกรันบริเวณที่น้ำหยด

 

 มีความเป็นพิษมากกว่า Nitrate ในไก่สาวมีความสามารถทนต่อพิษของ Nitrite ได้สูงสุดเพียง 1 ppm

 

 จากการทดสอบพบว่าไก่มีความอ่อนไหวต่อการได้รับ Nitrate ซึ่งในไก่โตเต็มวัยมีความสามารถทนต่อพิษของ Nitrate ได้สูงสุด 20 ppm

 

ความเข้มข้นสูงสุด

ppm หรือ mg/l

 

รายการ

 

 

การบริโภคน้ำ

อัตราการบริโภค/ไก่100ตัว/วัน

จากข้อมูลในตารางจะแสดงให้เห็นถึงปริมาณการกินน้ำที่ควรเป็น ในกรณีที่อุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรือนอยู่ในช่วง 21-27°C

ในขณะที่อุณหภูมิที่เพิ่มสูงขึ้น ปริมาณการกินน้ำก็ควรที่จะเพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย

 

 

 

 

 

 

                                               

คุณภาพอากาศ

อัตราการเคลื่อนที่ของอากาศ (ตารางเมตร/ชั่วโมง/ไก่1000ตัว)

·  อุณหภูมิและความชื้นภายในโรงเรือนที่เหมาะสม คือ 18-20°C  และ 40-60% ตามลำดับ

·  โดยทั่วไปพัดลมที่ติดตั้งภายในโรงเรือนจะต้องสามารถสร้างการเคลื่อนที่ของอากาศภายในโรงเรือนไม่ต่ำกว่า 4 ตรม./กก.ของน้ำหนักตัว/ชั่วโมง

·  การระบายอากาศภายในโรงเรือนถือเป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจาก

ü มีออกซิเจนเพียงพอต่อการดำรงชีวิตของฝูงไก่ภายในโรงเรือน

ü ขับไล่ความชื้นออกจากโรงเรือน

ü ขับไล่คาร์บอนไดออกไซด์ออกจาโรงเรือน

ü ขับไล่ฝุ่นละอองออกจากโรงเรือน

ü เจือจากเชื้อโรคที่ปะปนแพร่กระจายอยู่ในอากาศ

 

 

 

 

 

 

ขนาดของแคลเซียมในอาหาร

ขนาดของอนุภาคที่เหมาะสมจะขึ้นอยู่กับความสามารถในการละลายของหินฝุ่น ดังนั้นระดับของแคลเซียมในอาหารอาจต้องมีการปรับเปลี่ยนตามความสามารถในการละลายของหินปูน

 

 

 

 

 

                                                    

                                    แคลเซียมที่มีลักษณะละเอียด (0-2 มม.)                             แคลเซียมที่มีลักษณะหยาบ(2-4 มม.)

 

 

 

 

ขนาดของเม็ดอาหาร

ทำการใช้เครื่องคัดแยกขนาดอนุภาค  (Sieve shaker) ของอาหารแต่ละขนาด

 

อนุภาคของอาหารมีความละเอียดเกินไป

อนุภาคของอาหารมีความหยาบเกินไป

 

 

 

ขนาดของอาหาร

STARTER

GROWER

DEVELOPER

PRODUCTION

0–1 mm

25%

25%

25%

1–2 mm

เม็ดขบ

65%

35%

35%

2–3 mm

10%

35%

35%

3–4 mm

5%

5%

 

การจัดการที่ดี

·    การเว้นระยะเวลาว่างประมาณ 2-3 ชั่วโมง ก่อนการให้อาหารมื้อเที่ยง      จะกระตุ้นให้ไก่กินอาหารที่มีขนาดเล็กที่คงเหลืออยู่ในสายพานลำเลียงอาหาร

·    การเติม 0.5% น้ำมันหรือไขมัน ลงในอาหารจะมีส่วนช่วยรักษาการยึดเกาะหรือช่วยรักษาขนาดอนุภาคของอาหารไม่ให้แตกง่าย

·    การใช้อาหารที่มีขนาดใหญ่หรืออาหารเม็ดขบ จะสามารถกระตุ้นปริมาณการกินได้ของไก่ให้เพิ่มสูงขึ้นในกรณีที่มีอากาศร้อน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

· วิตามินและแร่ธาตุจากพรีมิกซ์มักจะพบมากในเศษผงของอาหารที่แตกออกมา ซึ่งการเสริม 0.5% น้ำมันหรือไขมัน ลงในอาหารจะสามารถเพิ่มการยึดเกาะกันของอนุภาคอาหารไม่ให้มีการแตกออกจากกันได้

· มีการจัดการกับตารางเวลาการให้อาหารช่วงกลางวัน เพื่อช่วยกระตุ้นให้ไก่กินเศษอาหารที่มีขนาดเล็กในรางอาหาร

 

 

                                                                                      วิตามินและแร่ธาตุ

                                

 

 

                

 

 

 

                                                                                                           

 

 

                  วิตามิน                                                                                                          แร่ธาตุ

 

 

 

 

 

ประเภทของอาหารตามความต้องการทางโภชนะของไก่

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                                                                                          

 

ปริมาณความต้องการโภชนะของไก่ในระยะเจริญเติบโต

การเปลี่ยนแปลงสูตรอาหาร ระยะเจริญเติบโต-ระยะให้ผลผลิต          

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ปริมาณความต้องการโภชนะของไก่ในระยะให้ผลผลิต

 

 

 

ปริมาณของโภชนะในอาหารไก่ระยะให้ผลผลิต (สอดคล้องกับระยะการให้ผลผลิตและปริมาณการบริโภค)

 

 

 

ข้อแนะนำเกี่ยวกับการจัดการในเรื่องการบังคับพลัดขน

การตัดสินใจเรื่องการพลัดขนของไก่ควรพิจารณาดังต่อไปนี้

การบังคับให้แม่ไก่ผลัดขน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โปรแกรมการบังคับผลัดขน

 

วันผลัดขน

แสงสว่าง (ชม/วัน)

ชนิดอาหาร

การปรับเปลี่ยนอาหาร

ปริมาณการกินอาหาร
(กรัม/วัน/ตัว)

อุณหภูมิภายในโรงเรือน(°C)

ข้อแนะนำ

-7 ถึง -5

16

อาหารไก่ไข่

ใช้ CaCO3 เนื้อละเอียด

เต็มที่

24–25

ใช้ CaCO3 เนื้อละเอียด ที่มีขนาดไม่เกิน 2 มม. ห้ามทำการเปลี่ยนแปลงปริมาณแคลเซียมในสูตรอาหาร

-4 ถึง -1

24

อาหารไก่ไข่

ใช้ CaCO3 เนื้อละเอียด, ไม่เติม NaCl

เต็มที่

24–25

0–6

6–84

อาหารผลัดขน

ใช้ CaCO3 เนื้อละเอียด

54–64

27–28

อุณหภูมิภายในโรงเรือนที่สูง จะส่งผลให้อัตราการบริโภคลดลง ทำการลดน้ำหนักตัวให้อยู่ในช่วงอายุ 18 สัปดาห์  (ในไก่ไข่สายพันธุ์สีน้ำตาลสามารถทำการลดน้ำหนักตัวก่อนการผลัดขนได้มากกว่า    21–22%

7–17

6–8

อาหารผลัดขน

54–64

27–28

ควบคุมน้ำหนักตัว

18–19

12 หรือ 166

อาหารไก่ไข่

ใช้ CaCO3 เนื้อละเอียดผสมกับหยาบ ลงในอาหารไก่ไข่สูตรปกติ

64–73

27–28

ควบคุมหรือจำกับปริมาณการบริโภคในไก่ที่มีลักษณะอ้วน

20–21

166

อาหารไก่ไข่

เต็มที่

26–27

อุณหภูมิภายในโรงเรือนที่ลดลง สามารถเพิ่มอัตราการบริโภคให้สูงขึ้น

22–24

16

อาหารไก่ไข่

เต็มที่

24–25

ปรับอุณหภูมิให้กลับสู่ระดับปกติ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คุณค่าทางโภชนะในอาหารสำหรับระยะผลัดขน

 

 

                                     

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                                                                              

 

ปริมาณความต้องการโภชนะของไก่ในระยะหลังผลัดขน

 

                                                                                 

 

การควบคุมโรค

          ในฝูงไก่สาวหรือไก่ไข่ จะสามารถแสดงออกถึงศักยภาพการให้ผลผลิตตามพันธุกรรมได้ก็ต่อเมื่อ ฝูงไก่ดังกล่าวมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง และปราศจากโรค การระบาดของโรคติดต่อสามารถส่งผลกระทบทางลบต่อระบบเศรษฐกิจได้อย่างมหาศาล ซึ่งในแต่ละพื้นที่ หรือภูมิภาคของโลกอาจมีการระบาดของโรคแต่ละชนิดที่แตกต่างกันออกไป

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)

         การนำระบบความปลอดภัยทางชีวภาพมาใช้งาน ถือเป็นวิธีที่ดีที่สุดในการหลีกเลี่ยงและป้องกันเชื้อโรค ดังนั้นทางฟาร์มควรมีการระบุกฎระเบียบในด้านความปลอดภัยทางชีวภาพขึ้น เพื่อที่จะป้องกันไม่ให้โรคติดต่อทั้งหลายเข้ามาสร้างความเสียหายให้แก่ฝูงสัตว์ปีกภายในฟาร์ม

 

 

 

 

 

 

 

การควบคุมหนู

         เป็นที่ทราบกันดีว่าหนูเป็นพาหะนำโรคติดต่อหลากหลายชนิดมาสู่ฝูงสัตว์ปีก หรือก่อให้เกิดการปนเปื้อนของเชื้อโรคในบริเวณต่างๆภายในฟาร์ม และยังสามารถแพร่กระจายเชื้อโรคจากสัตว์ปีกฝูงหนึ่งไปยังสัตว์ปีกอีกฝูงหนึ่งได้ในกรณีที่ในฟาร์มมีสัตว์ปีกป่วย

 

การทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค

         การทำความสะอาดและการฆ่าเชื้อโรงเรือนและอุปกรณ์ภายในโรงเรือน ระหว่างพักโรงเรือนหลังการปลดไก่ฝูงก่อนหน้า สามารถช่วยลดความเสี่ยงการปนเปื้อนข้ามของเชื้อโรคระหว่างฝูงสัตว์ปีก

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การติดต่อโรคในแนวดิ่ง (จากแม่สู่ลูก)

   สามารถติดต่อแพร่กระจายจากแม่สู่ลูก ผ่านทางกระแสเลือดได้

   ถือเป็นขั้นตอนสำคัญขั้นตอนแรกที่จะความคุมโรคติดต่อในไก่ไข่ทั่วโลก

   ทุกตัวอยู่ภายใต้การดูแลจาก Hy-Line International ซึ่งสามารถมั่นใจได้ว่าปลอดเชื้อ Mycoplasma gallisepticum, Mycoplasma synoviae, Salmonella pullorum, Salmonella gallinarum, Salmonella enteritidis, Salmonella typhimurium และ lymphoid leukosis

 

โรคบิด

          เป็นโรคที่มีอาการติดเชื้อในบริเวณลำไส้ การติดเชื้อบิดอาจส่งผลให้เกิดความเสียหายของอวัยวะระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะในลำไส้ ในกรณีที่มีการติดเชื้ออย่างรุนแรงสามารถส่งผลให้ไก่ตายได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ข้อแนะนำเกี่ยวกับการทำวัคซีน

การทำวัคซีน

                ปัจจุบันโรคในสัตว์ปีกหลายหลายชนิดได้มีการแพร่กระจายอยู่ทุกพื้นที่ของโลก ซึ่งในแต่ละพื้นที่หรือแต่ละภูมิภาคของโลกก็จะมีการแพร่กระจายของโรคแตกต่างกันไป ซึ่งเป็นการยากที่จะทำลายเชื้อเหล่านั้นให้หมดไป ดังนั้นโปรแกรมการทำวัคซีนจึงถูกกำหนดขึ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคชนิดต่างๆให้แก่ฝูงสัตว์ปีก ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่เชิงพานิชโดยทั่วไปจะมีการทำวัคซีนป้องกันโรคที่สำคัญดังต่อไปนี้  Newcastle Disease (NDV), infectious bronchitis (IB), Infectious Bursal Disease (IBD หรือ Gumboro), Avian Encephalomyelitis (AE) และ Fowl Pox

โปรแกรมการทำวัคซีนพื้นฐาน

               
     
 
     
 
       
       
   

[Type a quote from the document or the summary of an interesting point. You can position the text box anywhere in the document. Use the Text Box Tools tab to change the formatting of the pull quote text box.]

 
 
 

สำหรับพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดขั้นรุนแรง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

·  ฉีดวัคซีนเพียงครั้งเดียว เนื่องจากเป็นวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูง

 

·   

 

·  ฉีดวัคซีน ILT จำนวน 2 ครั้ง

·  ใช้เทคนิคการหยอดตา

·  ห้ามทำวัคซีน ILT ในกรณีที่ทำวัคซีนเชื้อเป็นชนิดอื่นอยู่ ซึ่งมีระยะห่างกันไม่ถึง 7 วัน

·  ส่วนใหญ่จะพบการ outbreaks ของโรคในกรณีที่มีการใช้เทคนิคในการทำวัคซีนที่ไม่มีประสิทธิภาพ

·  ในโรงฟักบางแห่งอาจมีการฉีดวัคซีน  ILT-HVT ให้กับลูกไก่ตั้งแต่แรกเกิด

·  ใช้วัคซีนรวม  ILT-Pox

 

·  ฉีดวัคซีน Fowl Cholera จำนวน 2 ครั้ง โดยเว้นระยะห่างกัน 4 สัปดาห์

·  ในบางกรณีอาจมีการใช้วัคซีน Autogenous vaccines สายพันธุ์ที่ระบาดในท้องถิ่น

·  วัคซีนอหิวาต์เชื้อเป็นที่นิยมใช้คือ สายพันธุ์ M-9 หรือ PM-1

 

·  ฉีดวัคซีน Coryza จำนวน 2 ครั้ง โดยเว้นระยะห่างกัน 4 สัปดาห์

·  ในบางกรณีอาจมีการใช้วัคซีน Autogenous vaccines สายพันธุ์ที่ระบาดในท้องถิ่น

 

โปรแกรมการทำวัคซีนพื้นฐาน (ต่อ) การประยุกต์ใช้โปรแกรมการทำวัคซีนในไก่ไข่

ชนิดเชื้อตาย

 

·  การใช้วัคซีน MG ชนิดเชื้อตาย ส่วนใหญ่จะทำร่วมกับวัคซีน ND/IB

 

 

ชนิดเชื้อเป็น

 

·  การใช้วัคซีน MG ชนิดเชื้อเป็น สามารถลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการระบาดของ            MG ได้

·  สเตรนที่นิยมใช้คือ TS-11, 6 / 85 และ F

·  การใช้ MG สเตรน F จะสำหรับป้องกันการระบาดขั้นรุนแรง

 

·   

 

·  สามารถใช้ได้ทั้งชนิดเชื้อเป็น และเชื้อตาย

·  โปรแกรมวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงสุดคือการใช้ร่วมกันระหว่างวัคซีน Avian Pneumovirus ชนิดเชื้อเป็นและเชื้อตาย

 

·   

 

วัคซีนเชื้อตาย – ฉีดใต้เข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดใต้ผิวหนัง

 

วัคซีนเชื้อเป็น - แทงปีก

 

วัคซีนเชื้อเป็น – ละลายน้ำ, สเปรย์ หรือ หยอดตา

 

วัคซีนเชื้อเป็น ทำในโรงฟัก - ฉีดใต้ผิวหนัง

 

                                                                                      

 

เป็นการนำ protective gene ของ ILT มาแทรกลงในยีนส์ของ HVT virus

· ลดปริมาณการทำวัคซีนเชื้อเป็นในภาคสนาม

 

 

·  

 

เป็นการนำ protective gene ของ NDV มาแทรกลงในยีนส์ของ HVT virus โดยใช้เทคนิคfusion protein และ neuraminidase

· ลดปริมาณการทำวัคซีนเชื้อเป็นในภาคสนาม

· การใช้วัคซีนเชื้อตายสามารถทำการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของโรคได้ในระยะยาว

 

·  

 

เป็นการนำ protective gene ของ IBD (VP2) มาแทรกลงในยีนส์ของ HVT virus

· ไม่จำจัดเขตุภูมิภาคของการเกิดโรค

· ไม่ได้รับผลกระทบจากภูมิคุ้มกันจากแม่

 

·  

 

โปรแกรมการทำวัคซีนพื้นฐาน (ต่อ) การใช้วัคซีนรวมเพื่อความสะดวกในการใช้งานในโรงฟัก

วัคซีนเชื้อตาย – ฉีดใต้เข้ากล้ามเนื้อ, ฉีดใต้ผิวหนัง

 

วัคซีนเชื้อเป็น - แทงปีก

 

วัคซีนเชื้อเป็น – ละลายน้ำ, สเปรย์ หรือ หยอดตา

 

วัคซีนเชื้อเป็น ทำในโรงฟัก - ฉีดใต้ผิวหนัง

 

                                          

 

 

 

 

 

 

ประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐาน ของไก่ไข่สายพันธุ์ Hy-Line Brown

อายุ
(สัปดาห์)

% HEN-DAY
ที่ยอมรับได้

HEN-DAY EGGS สะสม

HEN-HOUSED EGGS สะสม

อัตราการตาย
สะสม (%)

น้ำหนักตัว (kg)

อัตราการกิน (กรัม /วัน/ตัว)

HEN- HOUSED น้ำหนักไข่รวม (kg)

น้ำหนักไข่เฉลี่ย (กรัม/ฟอง)

18

4 – 14

0.3 – 1.0

0.3 – 1.0

0.0

1.47 – 1.57

82 – 88

0.0

48.8 – 50.0

19

24 – 38

2.0 – 3.6

2.0 – 3.6

0.1

1.57 – 1.67

85 – 91

0.1

49.0 – 51.0

20

45 – 72

5.1 – 8.7

5.1 – 8.7

0.1

1.63 – 1.73

91 – 97

0.3

50.2 – 52.2

21

75 – 86

10.4 – 14.7

10.3 – 14.7

0.2

1.67 – 1.77

95 – 101

0.5

51.5 – 53.6

22

87 – 92

16.5 – 21.1

16.4 – 21.1

0.3

1.72 – 1.82

99 – 105

0.9

53.1 – 55.3

23

92 – 94

22.9 – 27.7

22.8 – 27.7

0.3

1.75 – 1.85

103 – 109

1.2

54.4 – 56.6

24

92 – 95

29.3 – 34.4

29.2 – 34.3

0.4

1.78 – 1.90

105 – 111

1.6

55.5 – 57.7

25

93 – 95

35.8 – 41.0

35.7 – 40.9

0.4

1.79 – 1.91

106 – 112

2.0

56.6 – 59.0

26

94 – 96

42.4 – 47.7

42.3 – 47.6

0.5

1.80 – 1.92

107 – 113

2.3

57.3 – 59.7

27

95 – 96

49.1 – 54.5

48.9 – 54.3

0.6

1.82 – 1.94

107 – 113

2.7

58.4 – 60.8

28

95 – 96

55.7 – 61.2

55.5 – 60.9

0.6

1.83 – 1.95

107 – 113

3.1

59.0 – 61.4

29

95 – 96

62.4 – 67.9

62.1 – 67.6

0.7

1.84 – 1.96

107 – 113

3.5

59.3 – 61.7

30

94 – 96

69.0 – 74.6

68.6 – 74.3

0.7

1.84 – 1.96

107 – 113

3.9

59.7 – 62.1

31

94 – 96

75.5 – 81.3

75.1 – 80.9

0.8

1.84 – 1.96

108 – 114

4.3

59.9 – 62.3

32

94 – 95

82.1 – 88.0

81.7 – 87.5

0.9

1.85 – 1.97

108 – 114

4.7

60.1 – 62.5

33

94 – 95

88.7 – 94.6

88.2 – 94.1

0.9

1.85 – 1.97

108 – 114

5.1

60.3 – 62.7

34

94 – 95

95.3 – 101.3

94.7 – 100.7

1.0

1.85 – 1.97

108 – 114

5.5

60.5 – 62.9

35

94 – 95

101.9 – 107.9

101.2 – 107.3

1.0

1.85 – 1.97

108 – 114

5.9

60.6 – 63.0

36

93 – 94

108.4 –114.5

107.6 – 113.8

1.1

1.86 – 1.98

108 – 114

6.3

60.7 – 63.1

37

93 – 94

114.9 – 121.1

114.1 – 120.3

1.2

1.86 – 1.98

108 – 114

6.7

60.8 – 63.2

38

93 – 94

121.4 – 127.7

120.5 – 126.8

1.2

1.86 – 1.98

108 – 114

7.1

60.9 – 63.3

39

92 – 93

127.8 – 134.2

126.9 – 133.2

1.3

1.87 – 1.99

108 – 114

7.5

61.0 – 63.4

40

92 – 93

134.3 – 140.7

133.2 – 139.6

1.4

1.87 – 1.99

108 – 114

7.9

61.1 – 63.5

41

91 – 93

140.6 – 147.2

139.5 – 146.0

1.4

1.87 – 1.99

108 – 114

8.3

61.2 – 63.6

42

91 – 92

147.0 – 153.7

145.8 – 152.4

1.5

1.88 – 2.00

108 – 114

8.7

61.3 – 63.9

43

90 – 92

153.3 – 160.1

152.0 – 158.7

1.6

1.88 – 2.00

108 – 114

9.1

61.5 – 64.1

44

90 – 92

159.6 – 166.5

158.1 – 165.0

1.6

1.88 – 2.00

108 – 114

9.5

61.6 – 64.2

45

89 – 91

165.8 – 172.9

164.3 – 171.3

1.7

1.89 – 2.01

107 – 113

9.9

61.6 – 64.2

46

89 – 91

172.1 – 179.3

170.4 – 177.6

1.8

1.89 – 2.01

107 – 113

10.3

61.7 – 64.3

47

88 – 90

178.2 – 185.6

176.4 – 183.7

1.9

1.89 – 2.01

107 – 113

10.6

61.8 – 64.4

48

88 – 90

184.4 – 191.9

182.5 – 189.9

1.9

1.89 – 2.01

107 – 113

11.0

61.9 – 64.5

49

88 – 90

190.5 – 198.2

188.5 – 196.1

2.0

1.89 – 2.01

107 – 113

11.4

62.0 – 64.6

50

88 – 89

196.7 – 204.4

194.5 – 202.2

2.1

1.89 – 2.01

107 – 113

11.8

62.1 – 64.7

51

87 – 89

202.8 – 210.6

200.5 – 208.3

2.1

1.89 – 2.01

106 – 112

12.2

62.1 – 64.7

52

87 – 89

208.9 – 216.9

206.4 – 214.4

2.2

1.89 – 2.01

106 – 112

12.5

62.2 – 64.8

53

87 – 88

215.0 – 223.0

212.4 – 220.4

2.3

1.89 – 2.01

106 – 112

12.9

62.2 – 64.8

54

87 – 88

221.1 – 229.2

218.3 – 226.4

2.3

1.89 – 2.01

106 – 112

13.3

62.2 – 64.8

55

86 – 88

227.1 – 235.3

224.2 – 232.4

2.4

1.90 – 2.02

106 – 112

13.7

62.2 – 64.8

56

86 – 87

233.1 – 241.4

230.1 – 238.4

2.5

1.90 – 2.02

106 – 112

14.0

62.3 – 64.9

57

85 – 87

239.1 – 247.5

235.9 – 244.3

2.6

1.90 – 2.02

106 – 112

14.4

62.3 – 64.9

58

85 – 87

245.0 – 253.6

241.7 – 250.2

2.6

1.90 – 2.02

106 – 112

14.8

62.3 – 64.9

59

85 – 87

251.0 – 259.7

247.5 – 256.1

2.7

1.90 – 2.02

106 – 112

15.1

62.4 – 65.0

60

84 – 86

256.8 – 265.7

253.2 – 262.0

2.8

1.90 – 2.02

106 – 112

15.5

62.4 – 65.0

ประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐาน ของไก่ไข่สายพันธุ์ Hy-Line Brown (ต่อ)

อายุ
(สัปดาห์)

% HEN-DAY
ที่ยอมรับได้

HEN-DAY EGGS สะสม

HEN-HOUSED EGGS สะสม

อัตราการตาย
สะสม (%)

น้ำหนักตัว (kg)

อัตราการกิน (กรัม /วัน/ตัว)

HEN- HOUSED น้ำหนักไข่รวม (kg)

น้ำหนักไข่เฉลี่ย (กรัม/ฟอง)

61

84 – 86

262.7 – 271.7

258.9 – 267.8

2.9

1.90 – 2.02

106 – 112

15.9

62.5 – 65.1

62

83 – 86

268.5 – 277.8

264.5 – 273.7

2.9

1.90 – 2.02

106 – 112

16.2

62.5 – 65.1

63

83 – 85

274.3 – 283.7

270.1 – 279.4

3.0

1.90 – 2.02

106 – 112

16.6

62.6 – 65.2

64

83 – 85

280.1 – 289.7

275.8 – 285.2

3.1

1.90 – 2.02

106 – 112

16.9

62.6 – 65.2

65

83 – 85

286.0 – 295.6

281.4 – 291.0

3.2

1.90 – 2.02

106 – 112

17.3

62.7 – 65.3

66

82 – 84

291.7 – 301.5

286.9 – 296.6

3.3

1.90 – 2.02

106 – 112

17.7

62.7 – 65.3

67

81 – 84

297.4 – 307.4

292.4 – 302.3

3.4

1.90 – 2.02

106 – 112

18.0

62.8 – 65.4

68

81 – 83

303.0 – 313.2

297.9 – 307.9

3.5

1.90 – 2.02

106 – 112

18.4

62.8 – 65.4

69

81 – 82

308.7 – 318.9

303.3 – 313.4

3.7

1.90 – 2.02

106 – 112

18.7

62.9 – 65.5

70

80 – 82

314.3 – 324.7

308.7 – 319.0

3.8

1.91 – 2.03

106 – 112

19.1

62.9 – 65.5

71

79 – 81

319.8 – 330.3

314.0 – 324.4

3.9

1.91 – 2.03

106 – 112

19.4

63.0 – 65.6

72

79 – 81

325.4 – 336.0

319.3 – 329.9

4.0

1.91 – 2.03

106 – 112

19.7

63.0 – 65.6

73

78 – 80

330.8 – 341.6

324.6 – 335.2

4.1

1.91 – 2.03

106 – 112

20.1

63.1 – 65.7

74

77 – 80

336.2 –347.2

329.7 – 340.6

4.3

1.91 – 2.03

106 – 112

20.4

63.1 – 65.7

75

76 – 79

341.5 – 352.7

334.8 – 345.9

4.4

1.91 – 2.03

106 – 112

20.7

63.2 – 65.8

76

76 – 78

346.9 – 358.2

339.9 – 351.1

4.5

1.91 – 2.03

106 – 112

21.1

63.2 – 65.8

77

75 – 77

352.1 – 363.6

344.9 – 356.2

4.7

1.91 – 2.03

106 – 112

21.4

63.3 – 65.9

78

75 – 77

357.4 – 369.0

349.9 – 361.3

4.8

1.91 – 2.03

106 – 112

21.7

63.3 – 65.9

79

74 – 77

362.5 – 374.4

354.8 – 366.5

5.0

1.91 – 2.03

106 – 112

22.0

63.4 – 66.0

80

74 – 76

367.7 – 379.7

359.7 – 371.5

5.1

1.91 – 2.03

106 – 112

22.4

63.5 – 66.1

81

74 – 76

372.9 – 385.0

364.6 – 376.5

5.3

1.91 – 2.03

106 – 112

22.7

63.5 – 66.1

82

74 – 76

378.1 – 390.3

369.5 – 381.6

5.4

1.91 – 2.03

106 – 112

23.0

63.5 – 66.1

83

73 – 75

383.2 – 395.6

374.4 – 386.5

5.6

1.91 – 2.03

106 – 112

23.3

63.6 – 66.2

84

73 – 75

388.3 – 400.8

379.2 – 391.5

5.7

1.91 – 2.03

106 – 112

23.6

63.6 – 66.2

85

73 – 75

393.4 – 406.1

384.0 – 396.4

5.9

1.91 – 2.03

106 – 112

23.9

63.6 – 66.2

86

73 – 75

398.5 – 411.3

388.8 – 401.4

6.0

1.91 – 2.03

106 – 112

24.2

63.6 – 66.2

87

72 – 74

403.6 – 416.5

393.5 – 406.2

6.2

1.91 – 2.03

106 – 112

24.5

63.7 – 66.3

88

72 – 74

408.6 – 421.7

398.2 – 411.1

6.3

1.91 – 2.03

106 – 112

24.9

63.7 – 66.3

89

72 – 74

413.6 – 426.9

402.9 – 415.9

6.5

1.91 – 2.03

106 – 112

25.2

63.7 – 66.3

90

72 – 74

418.7 – 432.0

407.7 – 420.7

6.6

1.91 – 2.03

106 – 112

25.5

63.7 – 66.3

*น้ำหนักไข่ภายหลังที่ไก่มีอายุ 40 สัปดาห์ จะถูกกำหนดให้เป็นระยะที่มีการให้อาหารโปรตีน เพื่อจำกัดขนาดของไข่

 

 

 

 

 

กราฟแสดงประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานของไก่ไข่สายพันธุ์ Hy-Line Brown

 

                                           

 

 

 

 

 

 

ประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานหลังการผลัดขน

อายุ
(สัปดาห์)

% HEN-DAY
ที่ยอมรับได้

HEN-DAY EGGS สะสม

HEN-HOUSED EGGS สะสม

อัตราการตาย
สะสม (%)

น้ำหนักตัว (kg)

อัตราการกิน (กรัม /วัน/ตัว)

HEN- HOUSED น้ำหนักไข่รวม (kg)

น้ำหนักไข่เฉลี่ย (กรัม/ฟอง)

69

0 – 0

299.2 – 309.4

294.1 – 304.2

3.7

1.71 – 1.81

– – –

18.0

70

0 – 0

299.2 – 309.4

294.1 – 304.2

3.9

1.74 – 1.84

0.0 – 0.0

18.0

71

0 – 0

299.2 – 309.4

294.1 – 304.2

4.1

1.77 – 1.87

0.0 – 0.0

18.0

72

12 – 15

300.0 – 310.4

294.9 – 305.2

4.2

1.81 – 1.91

85.0 – 95.0

18.1

64.0

73

38 – 41

302.7 – 313.3

297.4 – 307.9

4.3

1.85 – 1.95

90.0 – 100.0

18.2

64.1

74

62 – 65

307.0 – 317.8

301.6 – 312.3

4.4

1.86 – 1.96

95.0 – 105.0

18.5

64.2

75

76 – 79

312.3 – 323.4

306.7 – 317.6

4.5

1.87 – 1.97

100.0 – 110.0

18.8

64.3

76

80 – 83

317.9 – 329.2

312.0 – 323.1

4.6

1.88 – 1.98

103.0 – 113.0

19.2

64.4

77

82 – 85

323.7 – 335.1

317.5 – 328.8

4.7

1.88 – 1.98

104.0 – 114.0

19.5

64.5

78

85 – 87

329.6 – 341.2

323.1 – 334.6

4.9

1.88 – 1.98

105.0 – 115.0

19.9

64.6

79

85 – 87

335.6 – 347.3

328.8 – 340.4

5.0

1.88 – 1.98

106.0 – 116.0

20.2

64.7

80

85 – 87

341.5 – 353.4

334.4 – 346.1

5.1

1.89 – 1.99

107.0 – 117.0

20.6

64.8

81

86 – 88

347.5 – 359.6

340.1 – 352.0

5.2

1.89 – 1.99

107.0 – 117.0

21.0

64.9

82

86 – 88

353.5 – 365.7

345.8 – 357.8

5.4

1.90 – 2.00

108.0 – 118.0

21.3

65.0

83

85 – 87

359.5 – 371.8

351.5 – 363.6

5.5

1.90 – 2.00

108.0 – 118.0

21.7

65.1

84

85 – 87

365.4 – 377.9

357.1 – 369.3

5.7

1.90 – 2.00

109.0 – 119.0

22.1

65.1

85

84 – 87

371.3 – 384.0

362.6 – 375.0

5.8

1.91 – 2.01

109.0 – 119.0

22.4

65.2

86

84 – 87

377.2 – 390.1

368.1 – 380.8

6.0

1.91 – 2.01

110.0 – 120.0

22.8

65.2

87

83 – 86

383.0 – 396.1

373.6 – 386.4

6.1

1.91 – 2.01

110.0 – 120.0

23.2

65.3

88

83 – 86

388.8 – 402.1

379.0 – 392.1

6.3

1.91 – 2.01

110.0 – 120.0

23.5

65.3

89

83 – 86

394.6 – 408.1

384.5 – 397.7

6.4

1.91 – 2.01

110.0 – 120.0

23.9

65.4

90

82 – 85

400.4 – 414.1

389.8 – 403.3

6.6

1.92 – 2.02

110.0 – 120.0

24.2

65.4

91

82 – 85

406.1 – 420.0

395.2 – 408.8

6.8

1.92 – 2.02

110.0 – 120.0

24.6

65.5

92

81 – 84

411.8 – 425.9

400.5 – 414.3

6.9

1.92 – 2.02

111.0 – 121.0

24.9

65.5

93

81 – 84

417.5 – 431.8

405.7 – 419.7

7.1

1.92 – 2.02

111.0 – 121.0

25.3

65.5

94

81 – 84

423.1 – 437.7

411.0 – 425.2

7.3

1.92 – 2.02

111.0 – 121.0

25.6

65.5

95

80 – 83

428.7 – 443.5

416.2 – 430.6

7.4

1.92 – 2.02

110.0 – 120.0

25.9

65.5

96

80 – 83

434.3 – 449.3

421.4 – 435.9

7.6

1.93 – 2.03

110.0 – 120.0

26.3

65.5

97

80 – 83

439.9 – 455.1

426.5 – 441.3

7.8

1.93 – 2.03

110.0 – 120.0

26.6

65.5

98

79 – 82

445.5 – 460.8

431.6 – 446.6

7.9

1.93 – 2.03

109.0 – 119.0

26.9

65.5

99

79 – 82

451.0 – 466.6

436.7 – 451.9

8.1

1.93 – 2.03

109.0 – 119.0

27.3

65.6

100

79 – 82

456.5 – 472.3

441.8 – 457.1

8.3

1.93 – 2.03

109.0 – 119.0

27.6

65.6

101

78 – 81

462.0 – 478.0

446.8 – 462.3

8.5

1.93 – 2.03

108.0 – 118.0

27.9

65.6

102

78 – 81

467.4 – 483.7

451.7 – 467.5

8.7

1.94 – 2.03

108.0 – 118.0

28.3

65.6

103

78 – 81

472.9 – 489.3

456.7 – 472.7

8.9

1.94 – 2.03

107.0 – 117.0

28.6

65.6

104

77 – 80

478.3 – 494.9

461.6 – 477.7

9.1

1.94 – 2.03

107.0 – 117.0

28.9

65.7

105

77 – 80

483.7 – 500.5

466.5 – 482.8

9.3

1.94 – 2.03

106.0 – 116.0

29.2

65.7

106

77 – 80

489.1 – 506.1

471.4 – 487.9

9.5

1.94 – 2.03

106.0 – 116.0

29.6

65.7

107

76 – 79

494.4 – 511.7

476.2 – 492.9

9.7

1.94 – 2.04

105.0 – 115.0

29.9

65.7

108

76 – 79

499.7 – 517.2

481.0 – 497.9

9.9

1.95 – 2.05

105.0 – 115.0

30.2

65.7

109

76 – 79

505.0 – 522.7

485.5 – 502.8

10.1

1.95 – 2.05

104.0 – 114.0

30.5

65.7

110

76 – 79

510.3 – 528.3

490.5 – 507.8

10.4

1.95 – 2.05

104.0 – 114.0

30.8

65.7

กราฟแสดงประสิทธิภาพการผลิตมาตรฐานหลังการผลัดขน ของไก่ไข่สายพันธุ์ Hy-Line Brow

 

มาตรฐานด้านคุณภาพและขนาดของไข่

การให้คะแนนสีของเปลือกไข่

 

มาตรฐานด้านคุณภาพและขนาดของไข่ (ต่อ)

อายุ
(สัปดาห์)

HAUGH UNITS

ความแข็งของเปลือก

สีเปลือก

 

การแบ่งขนาดของไข่ ตามมาตรฐานสหภาพยุโรป

 

อายุ
(สัปดาห์)

น้ำหนักไข่เฉลี่ย (g)

   % ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ >73 g

% ไข่ขนาดใหญ่
63–73 g

% ไข่ขนาดกลาง
53–63 g

% ไข่ขนาดเล็ก
43–53 g

20

97.8

4605

89

 

20

51.2

0.0

0.0

21.7

78.3

22

97.0

4590

89

 

22

54.2

0.0

0.0

69.9

30.1

24

96.0

4580

89

 

24

56.6

0.0

0.3

93.9

5.9

26

95.1

4570

88

 

26

58.5

0.0

2.5

96.6

0.8

28

94.2

4560

88

 

28

60.2

0.0

11.2

88.7

0.1

30

93.3

4540

88

 

30

60.9

0.0

18.1

81.9

0.0

32

92.2

4515

88

 

32

61.3

0.0

23.9

76.0

0.0

34

91.5

4490

88

 

34

61.7

0.0

29.4

70.6

0.0

36

90.6

4450

87

 

36

61.9

0.0

32.3

67.7

0.0

38

90.0

4425

87

 

38

62.1

0.0

35.9

64.0

0.0

40

89.3

4405

87

 

40

62.3

0.0

39.0

61.0

0.0

42

88.5

4375

87

 

42

62.6

0.0

43.9

56.1

0.0

44

87.8

4355

87

 

44

62.9

0.0

48.5

51.5

0.0

46

87.1

4320

87

 

46

63.0

0.0

50.0

50.0

0.0

48

86.4

4305

87

 

48

63.2

0.0

52.8

47.1

0.0

50

85.6

4280

86

 

50

63.4

0.0

55.5

44.5

0.0

52

85.0

4250

86

 

52

63.5

0.1

56.5

43.5

0.0

54

84.6

4225

86

 

54

63.5

0.1

56.5

43.4

0.0

56

84.0

4190

85

 

56

63.6

0.1

57.3

42.6

0.0

58

83.1

4170

85

 

58

63.6

0.2

57.3

42.5

0.0

60

82.6

4150

85

 

60

63.7

0.3

58.2

41.5

0.0

62

82.2

4130

84

 

62

63.8

0.4

59.0

40.6

0.0

64

81.9

4110

83

 

64

63.9

0.6

59.7

39.8

0.0

66

81.6

4095

83

 

66

64.0

0.9

60.3

38.9

0.0

68

81.5

4085

82

 

68

64.1

1.1

60.4

38.4

0.0

70

81.1

4075

81

 

70

64.2

1.6

60.4

38.0

0.0

72

81.0

4065

81

 

72

64.3

1.9

60.8

37.3

0.0

74

80.8

4055

80

 

74

64.4

2.6

60.7

36.7

0.0

76

80.5

4040

80

 

76

64.5

3.1

60.7

36.2

0.0

78

80.2

4020

80

 

78

64.6

4.0

60.4

35.6

0.0

80

80.1

3995

80

 

80

64.8

5.1

59.9

35.1

0.0

82

80.0

3985

79

 

82

64.8

5.9

59.1

34.9

0.0

84

79.9

3975

79

 

84

64.9

6.9

58.3

34.8

0.0

86

79.8

3965

79

 

86

64.9

8.1

57.1

34.8

0.0

88

79.7

3960

79

 

88

65.0

9.2

56.3

34.4

0.0

90

79.7

3955

79

 

90

65.0

10.3

55.2

34.4

0.0

มาตรฐานด้านคุณภาพและขนาดของไข่ (ต่อ)

การแบ่งขนาดของไข่ ตามมาตรฐานสหรัฐอเมริกา

อายุ
(สัปดาห์)

น้ำหนักไข่เฉลี่ย (ปอนด์/ลัง)

% ไข่ขนาดจัมโบ
มากกว่า 30 ออนซ์ / โหล

%ไข่ขนาดใหญ่พิเศษ
27–30 ออนซ์ / โหล

% ไข่ขนาดใหญ่
24–27 ออนซ์ / โหล

% ไข่ขนาดกลาง
21–24ออนซ์ / โหล

% ไข่ขนาดเล็ก
18–21 ออนซ์ / โหล

20

40.63

0.0

0.0

0.8

74.8

24.3

22

43.02

0.0

0.0

14.0

83.8

2.3

24

44.92

0.0

0.1

48.2

51.6

0.1

26

46.43

0.0

1.1

77.2

21.7

0.0

28

47.78

0.0

5.9

87.7

6.4

0.0

30

48.33

0.0

10.5

86.2

3.4

0.0

32

48.65

0.0

15.0

82.3

2.8

0.0

34

48.97

0.0

19.2

79.0

1.9

0.0

36

49.13

0.0

21.5

76.9

1.5

0.0

38

49.29

0.0

24.9

73.6

1.4

0.0

40

49.44

0.0

27.5

71.2

1.3

0.0

42

49.68

0.1

32.3

66.5

1.2

0.0

44

49.92

0.1

36.5

62.5

1.0

0.0

46

50.00

0.2

38.3

60.5

1.0

0.0

48

50.16

0.3

41.4

57.4

0.9

0.0

50

50.32

0.4

44.1

54.7

0.8

0.0

52

50.40

0.6

45.5

53.3

0.7

0.0

54

50.40

0.7

45.5

53.2

0.7

0.0

56

50.48

0.9

46.5

51.9

0.7

0.0

58

50.48

1.2

46.5

51.7

0.7

0.0

60

50.56

1.5

47.5

50.4

0.6

0.0

62

50.63

1.9

48.3

49.3

0.6

0.0

64

50.71

2.6

48.6

48.2

0.6

0.0

66

50.79

3.2

49.5

46.8

0.6

0.0

68

50.87

3.7

49.5

46.1

0.6

0.0

70

50.95

4.8

49.6

45.2

0.5

0.0

72

51.03

5.4

49.6

44.5

0.5

0.0

74

51.11

6.6

49.1

43.7

0.5

0.0

76

51.19

7.4

49.1

43.1

0.5

0.0

78

51.27

8.7

48.4

42.6

0.4

0.0

80

51.43

10.3

48.0

41.3

0.4

0.0

82

51.43

11.3

47.0

41.2

0.4

0.0

84

51.51

12.7

46.0

40.9

0.4

0.0

86

51.51

13.7

45.2

40.8

0.3

0.0

88

51.59

15.0

44.0

40.7

0.3

0.0

90

51.59

15.9

43.1

40.6

0.3

0.0

 

 

กราฟแสดงการแบ่งขนาดของไข่ตามมาตรฐาน E.U. และ U.S.

 

 

ตารางแสดงวัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหารสัตว์

 

ตารางแสดงวัตถุดิบที่ใช้เป็นอาหารสัตว์ (ต่อ)